ส่องรายละเอียด แจกถุงยางอนามัยฟรีและยาเม็ดคุมกำเนิด บริการของ สปสช. เริ่มวันไหน ไปรับบริการที่ใดและมีกี่วิธี ดูที่นี่ วันที่ 28 ม.ค.65 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) จัดช่องทางให้บริการถุงยางอนามัยและยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดรับประทาน แก่คนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ทุกสิทธิ เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ และเพื่อความปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (Safe Sex)
ขณะเดียวกันเพื่อเพิ่มความสะดวก สปสชจึง เพิ่มจุดให้บริการ ได้แก่ หน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประกอบด้วย คลินิกการพยาบาลฯ ร้านขายยา โรงพยาบาลเอกชน คลินิกเวชกรรม และหน่วยบริการปฐมภูมิที่เข้าร่วมโครงการทั่วประเทศ
ยาเม็ดคุมกำเนิด เริ่ม 1 กุมภาพันธ์ 2565
ให้บริการสำหรับหญิงไทยทุกสิทธิ อายุระหว่าง 15-59 ปี
จ่ายครั้งละไม่เกิน 3 แผง คนละไม่เกิน 13 แผงต่อปี
ประชาชนสามารถเข้ารับบริการได้ 2 วิธี
1.ขอรับผ่านแอปเป๋าตัง เมนูกระเป๋าสุขภาพ เลือกบริการสร้างเสริมสุขภาพ เลือกหน่วยบริการใกล้บ้านหรือหน่วยบริการที่ต้องการไปรับยาเม็ดคุมกำเนิด จองสิทธิ และไปรับภายในวันที่จองสิทธิ
2.กรณีไม่มีสมาร์ทโฟน ให้แสดงบัตรประชาชนเพื่อรับยาคุมกำเนิด ณ หน่วยบริการ
ถุงยางอนามัย เริ่มเมษายน 2565
ให้บริการคนไทยทุกสิทธิ อายุ 15 ปีขึ้นไป
รับได้ครั้งละ 10 ชิ้นต่อสัปดาห์, 7 วันรับได้ 1 ครั้ง ไม่จำกัดจำนวนถุงยางต่อคนต่อปี
ประชาชนใช้สมาร์ทโฟน แอดไลน์ สปสช. @nhso หรือคลิก https://lin.ee/zzn3pU6 แล้วสแกน QR code ณ หน่วยบริการ เพื่อรับถุงยาง มีให้เลือก 4 ไซส์ คือ 49 มม., 52 มม., 54 มม. และ 56 มม.
ทวิตเตอร์ตระหนักถึงบทบาทและความรับผิดชอบในการช่วยสร้างมั่นใจว่า ผู้คนสามารถเข้าถึงและได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือในบริการบนทวิตเตอร์ในยามที่พวกเขาต้องการมากที่สุด ชุมชนต่างๆ บนทวิตเตอร์เป็นแหล่งของการสนับสนุนและขยายตัวอย่างต่อเนื่อง มีทั้งการให้กำลังใจซึ่งกันและกันต่อผู้ที่อาจจะกำลังต่อสู้กับการถูกตีตราว่าติดเชื้อ หรือผู้ที่ขาดข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับเอชไอวี ตลอดจนรวมถึงการขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญ
กสทช. แจ้งเปลี่ยน หมายเลขติดต่อโควิด กทม. เริ่มใช้ 1 ก.พ. 2565
กสทช. ทำการประกาศชี้แจงถึงการดำเนินการเปลี่ยน หมายเลขติดต่อโควิด สำหรับพื้นที่ กทม. โดยมีผลบังคับใช้งานตั้งแต่วันที่ 1 ก.พ. 2565 (28 ม.ค. 2565) สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ทำการประกาศชี้แจงถึงการเปล่ยนแปลง หมายเลขติดต่อโควิด สำหรับพื้นที่ กรุงเทพมหานคร (กทม.) โดยการเปลี่ยนแปลงจะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565
เนื้อความของประกาศดังกล่าวนั้น มีด้วยกันดังนี้ เรียน ผู้ประกอบกิจการ สำนักงาน กสทช. ขอความร่วมมือเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงเลขหมายติดต่อเกี่ยวกับโควิด-19 ประจำเขตในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยสถานีพิจารณาตามความเหมาะสม ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป โดยมีข้อความดังนี้
“เริ่มใช้งานเลขหมายประจำเขตใหม่ในวันอังคารที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 โทรฟรี 24 ชั่วโมง สำหรับผู้ที่ตรวจหาเชื้อโควิดด้วยตนเองแล้วมีผลน่าจะติดเชื้อ หรือยืนยันผลการติดเชื้อแล้ว สามารถเข้าสู่ระบบการรักษา หรือขอความช่วยเหลือในเรื่องอื่นๆ จากเขตที่ท่านอาศัยอยู่ โดยหมายเลขประจำเขต กรุงเทพกลาง กรุงเทพตะวันออก กรุงเทพใต้ และกรุงธนฯเหนือ จะมีการเปลี่ยนแปลงหมายเลขใหม่ ทั้งนี้ท่านสามารถโทรได้ฟรี ตลอด 24 ชั่วโมง”
การร่วมมือกันในการช่วยสนับสนุนการเข้าถึงข้อมูลที่มากขึ้น ทวิตเตอร์ตระหนักดีว่าการเข้าถึงอินเตอร์เน็ตที่เปิดกว้างและเสรี #OpenInternet และการทำงานร่วมกันกับทุกส่วนไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน เป็นกุญแจสำคัญในการต่อสู้กับความเข้าใจผิดต่อเรื่องเอชไอวี องค์กรต่างๆ ในแต่ละพื้นที่ยังคงใช้ทวิตเตอร์เป็นช่องทางในการระบุและเข้าถึงผู้ที่มีความเสี่ยงซึ่งอาจเป็นกลุ่มที่เข้าถึงยากและเปราะบาง ทวิตเตอร์จึงหวังว่า บริการแจ้งเตือน #ThereIsHelp นี้จะมีส่วนช่วยสนับสนุนและส่งเสริมความพยายามขององค์กรต่างๆ ได้อีกทางหนึ่ง
ทวิตเตอร์ได้ร่วมมือกับพันธมิตรและองค์การไม่แสวงหาผลกำไรในกว่า 30 ตลาดทั่วโลกเพื่อให้บริการแจ้งเตือน #ThereIsHelp เกี่ยวกับข้อมูลเอชไอวี และยังมุ่งมั่นในการขยายการให้บริการนี้ในตลาดอื่นๆ ในอนาคตอันใกล้ โดยสำหรับในประเทศไทยนั้น ทวิตเตอร์ได้ร่วมเป็นพันธมิตรกับ มูลนิธิแอ็พคอม (APCOM) (@apcom) TestBKK (@test_BKK) และกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
คุณฐิสาณัฒิ แก้วนุกูล เจ้าหน้าที่โครงการ testBKK กล่าวว่า ทาง “testBKK ได้มีการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในชุมชนบนทวิตเตอร์ เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่มีการใช้ทวิตเตอร์ และเราได้มีการใช้ทวิตเตอร์เป็นเครื่องมือในการสื่อสารข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับเอชไอวีมาอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นการตรวจเอชไอวี การรักษาและการป้องกัน เมื่อทวิตเตอร์ได้เปิดตัวบริการแจ้งเตือน #Thereishelp เพื่อให้ข้อมูลที่ถูกต้องนี้ เราจึงมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้ร่วมมือกันในการต่อสู่เพื่อยุติโรคเอดส์ และเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยสื่อสารข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับเอชไอวีไปยังกลุ่มเป้าหมาย”